Skip to content

Latest commit

 

History

History
100 lines (72 loc) · 11.3 KB

README-th.md

File metadata and controls

100 lines (72 loc) · 11.3 KB

English | 繁中版 | 简中版 | العربية | Azərbaycan | বাংলা | Català | Čeština | Deutsch | Ελληνικά | Español | فارسی | Français | हिंदी | Indonesia | Italiano | 日本語 | 한국어 | ພາສາລາວ | Македонски | മലയാളം | Монгол | Nederlands | Polski | Português (Brasil) | Русский | Türkçe | Українська | Tiếng Việt

API Security Checklist

Checklist ที่ต้องให้ความสำคัญเมื่อมีการสร้าง API ในช่วงการออกแบบ ทดสอบระบบ และการปล่อยให้คนนอกใช้


Authentication (การพิสูจน์ตัวตน)

  • ไม่ควรใช้ Basic Auth (การ authen ปกติด้วยusername password) สำหรับการพิสูจน์ตัวตน แต่ให้ใช้รูปแบบมาตรฐานสากลแทน(e.g. JWT, OAuth).
  • ไม่ต้องเสียเวลาสร้างวิธี Authentication ใหม่ขึ้นมา ให้ใช้ที่มีอยู่ในมาตรฐานไปเลย
  • ให้มีการจำกัดจำนวนครั้งในการพยายาม authen และสร้างระบบล็อคกรณีพยายามเกินกำหนด
  • ข้อมูลที่สำคัญควรมีการเข้ารหัสเสมอ

JWT (JSON Web Token)

  • key ในการ generate token ควรมีความซับซ้อนสูง เพื่อป้องกันการ brute force หาตัวเข้ารหัส
  • ไม่ควรมีการแกะข้อมูลหรือขั้นตอนการถอดข้อมูลในฝั่ง client. ให้มีเฉพาะในฝั่ง server เท่านั้น โดยอาจใช้วิธีเข้ารหัสด้วย HS256 หรือ RS256 เอา
  • พยายามให้ token หมดอายุให้ไวที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ (TTL, RTTL)
  • ไม่ควรเก็บข้อมูลสำคัญใน payload ของ JWT เพราะอาจถูกแกะได้ ง่าย.
  • หลีกเลี่ยงการจัดเก็บข้อมูลมากเกินไป. JWT มักใช้ร่วมกันใน header และมีขนาดจำกัด.

Access

  • จำกัดจำนวนสูงสุดของ request เพื่อป้องกัน DDoS / Bruteforce.
  • ใช้ https เพื่อป้องกัน MITM (Man In The Middle Attack).
  • ใช้ HSTS header กับ SSL เพื่อป้องกัน SSL Strip attack.
  • ปิดรายการไดเรกทอรี.
  • สำหรับ API ส่วนตัว อนุญาตการเข้าถึงจาก IP/โฮสต์ที่อนุญาตพิเศษเท่านั้น.

Authorization

OAuth

  • มีการ validate redirect_uri ในฝั่ง server โดยยอมรับuriเฉพาะที่มีอยู่ในลิสต์ที่เราเชื่อถือเท่านั้น (whitelist).
  • บังคับให้มีการใช้ response_type เป็น code เสมอ (พยายามเลี่ยง response_type=token).
  • ตัวแปร state ให้ใช้ random hash เพื่อป้องกัน CSRF (Cross Site Request Forgery) ในช่วง OAuth authentication.
  • กำหนด scope และมีการ validate scope ตัวแปรสำหรับแต่ละแอป.

Input

  • ใช้คำสั่ง HTTP ตาม operation ที่ทำ เช่น GET (read), POST (create), PUT/PATCH (replace/update) and DELETE (to delete a record) และตอบกลับด้วย 405 Method Not Allowed ถ้าไม่มีการรองรับ request ด้วย method นั้นในระบบ.
  • Validate content-type ใน header ขา request (Content Negotiation) โดยยอมให้ส่งมาเฉพาะ format ที่กำหนด (e.g. application/xml, application/json... และอื่นๆ) และตอบกลับด้วย 406 Not Acceptable ถ้า format ที่ส่งมาไม่ถูก.
  • Validate content-type ของ data ที่รับมาทุกครั้ง(e.g. application/x-www-form-urlencoded, multipart/form-data ,application/json... ).
  • Validate ข้อมูลที่ user ใส่เข้ามาทุกครั้งเพื่อป้องกันช่องโหว่ที่โดนกันบ่อยๆ (e.g. XSS, SQL-Injection, Remote Code Execution ... etc).
  • ห้ามเอาข้อมูลสำคัญไปใส่ไว้ใน URL (เช่น /servicexxx?creditcardnum=1234) แต่ให้ไปแปะไว้ใน authorization header แทน (credentials, Passwords, security tokens, หรือ API keys)
  • ใช้การเข้ารหัสฝั่งเซิร์ฟเวอร์เท่านั้น.
  • ทำ API Gateway เพื่อให้สามารถทำ caching, Rate Limit, Spike Arrest, และการจัดสรรค์ทรัพยากรสำหรับ API ได้อย่างยืดหยุ่น.

Processing

  • ตรวจดูว่า endpoints ทุกจุดอยู่ภายใต้ authentication เพื่อป้องกันช่องโหว่ที่ทำให้คนอื่นมาเรียกใช้โดยไม่จำเป็นต้องพิสูจน์ตัวตน.
  • ไม่ควรนำ resource ID ของ user ไปใช้ (/user/654321/orders) แต่ให้ไปใช้แบบ /me/orders แทน เพื่อป้องกัน user เปลี่ยนไปใช้ของคนอื่น.
  • เลข ID ของ user ไม่ควรมีการสร้างแบบไล่ลำดับเพิ่มไปเรื่อยๆ แต่ให้สร้าง UUID แทน.
  • If you are parsing XML data, make sure entity parsing is not enabled to avoid XXE (XML external entity attack).
  • ถ้ามีการ parsing ไฟล์ XML, ให้ปิดส่วนของ Entity parsing ไว้เพื่อเลี่ยงที่จะโดนช่องโหว่ต่างๆเช่น (XML external entity attack, Billion Laughs/XML bomb).
  • ใช้ CDN เมื่อจำเป็นต้องมีการ upload ไฟล์จาก client.
  • หากต้องเผชิญกับข้อมูลขนาดใหญ่ ให้ใช้ Workers กับ คิวในการจัดการเพื่อให้มีการตอบข้อมูลกลับได้อย่างรวดเร็วจะได้ไม่เกิดคอขวดขึ้น.
  • อย่าลืมปิดโหมด DEBUG ใน code หากทำไว้.
  • ใช้ stack ที่ไม่สามารถเรียกใช้งานได้เมื่อมี.

Output

  • ตั้ง X-Content-Type-Options: nosniff ใน header.
  • ตั้ง X-Frame-Options: deny ใน header.
  • ตั้ง Content-Security-Policy: default-src 'none' ในheader.
  • เอา fingerprinting headers ออก - X-Powered-By, Server, X-AspNet-Version etc.
  • กำหนด content-type ใน response เช่นถ้าต้องการส่งข้อมูลที่เป็น json กลับไป ก็เซ็ต content-type เป็น application/json ไปเลย
  • ไม่ต้องส่งข้อมูลส่งข้อมูลสำคัญกลับไปหา client (credentials, Passwords, security tokens).
  • ตอบ status code ที่ตรงกับ operation กลับไป (e.g. 200 OK, 400 Bad Request, 401 Unauthorized, 405 Method Not Allowed ... etc).

CI & CD

  • ตรวจสอบ design กับ implementation ในขั้น unit/integration test อย่างครอบคลุม
  • ให้ใช้ code review process ไม่ใช่ว่าตัวเองพอใจก็โอเคแล้ว
  • มั่นใจว่าทุกอย่างใน service ปลอดไวรัสแล้วก่อนจะนำขึ้น production รวมถึง lib ของพวก vendor กับ dependencies อื่นๆด้วย
  • เรียกใช้การทดสอบความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง (การวิเคราะห์แบบสแตติก/ไดนามิก) ในโค้ดของคุณ.
  • ตรวจสอบการพึ่งพาของคุณ (ทั้งซอฟต์แวร์และระบบปฏิบัติการ) เพื่อหาช่องโหว่ที่ทราบ.
  • ออกแบบวิธี rollback ไว้ด้วยก่อนจะนำขึ้นไป เพราะเวลาเกิดปัญหาจะได้ย้อนกลับมาใช้ version เก่าไปก่อนได้ (อาจพบได้บ่อยตอนพัฒนา feature ใหม่ๆ)

Monitoring

  • Use centralized logins for all services and components.
  • Use agents to monitor all traffic, errors, requests, and responses.
  • Use alerts for SMS, Slack, Email, Telegram, Kibana, Cloudwatch, etc.
  • Ensure that you aren't logging any sensitive data like credit cards, passwords, PINs, etc.
  • Use an IDS and/or IPS system to monitor your API requests and instances.

ดูสิ่งนี้ด้วย:

  • yosriady/api-development-tools - ชุดของแหล่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์สำหรับการสร้าง API RESTful HTTP+JSON.

Contribution

Feel free to contribute by forking this repository, making some changes, and submitting pull requests. For any questions drop us an email at team@shieldfy.io.